2024.04.03 (수)

  • 흐림동두천 1.0℃
  • 흐림강릉 1.3℃
  • 서울 3.2℃
  • 대전 3.3℃
  • 대구 6.8℃
  • 울산 6.6℃
  • 광주 8.3℃
  • 부산 7.7℃
  • 흐림고창 6.7℃
  • 흐림제주 10.7℃
  • 흐림강화 2.2℃
  • 흐림보은 3.2℃
  • 흐림금산 4.4℃
  • 흐림강진군 8.7℃
  • 흐림경주시 6.7℃
  • 흐림거제 8.0℃
기상청 제공

태국어

ประเทศเกาหลีอยู่ในระดับประเทศที่มีความหลากหลายทางวัฒธรรมแล้วและในปี 2040คือประเทศที่มีความหลากหลายทางวัฒธรรม

한국은 이미 다문화 국가 수준, 2040년에는 '다문화 국가’

8604580.jpg

 

ตามการคาดการณ์ ประชากรเกาหลีและชาวต่างชาติ ในปี 2020-2040 ที่เผยแพร่โดยสำนักงาน สถิติแห่งชาติ เมื่อวันที่ 14 คาดว่าจำนวน ประชากรทั้งหมดจะลดลงจาก 51.84ล้านคน ในปี 2020 เป็น 50.19 ล้านคน ในปี 2040 จำนวนประชากรเกาหลีจะลดลง จาก 50.3 ล้านคน ในปีนี้ เป็น 49.92 ล้านคน ในปีหน้า และสันนิษฐานว่า จะลดลงเป็น 50 ล้านคน เป็นครั้งแรกในปีหน้า 


ชาวต่างชาติ คิดเป็น 4.5% ของประชากรทั้งหมด จาก 1.7 ล้านคนในปี 2020 เป็น 2.16 ล้านคน ในปี 2040 จำนวนชาวต่างชาติจะลดลงเหลือ 1.7 ล้านคน 1.62 ล้านคน และ 1.6 ล้านคน ในปี 2020-2022 และจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังจากปี 2023 


คาดว่า “ประชากรชาวต่างชาติและครอบครัวหลากวัฒธรรม” จะมีจำนวนเกินกว่า 6% ของประชากรทั้งหมดของเกาหลี ภายในปี 2040 ในขณะที่ ประชากรชาวเกาหลีลดลงอย่างต่อเนื่อง ในทางกลับกัน จำนวนของผู้ย้ายถิ่นฐานคาดว่าจะเกินกว่า 1 ล้านคน 


ประชากรที่ย้ายถิ่นฐานคาดว่าจะเพิ่มขึ้นกว่า 1 ล้านคน จาก 2.18 ล้านคน ในปี 2020 เป็น 3.23 ล้านคน ในปี 2040 คาดว่า สัดส่วนของประชากรที่ย้ายถิ่นฐาน จะเพิ่มขึ้นจาก 4.2% ในปี 2020 เป็น 6.4% ในปี 2040 

ประชากรที่ย้ายถิ่นฐาน หมายถึง บุคคลที่ตนเอง หรือ บิดา มารดา อย่างน้อย 1 คน เกิด หรือในปัจจุบันมี สัญชาติต่างประเทศ ประชากรที่ย้ายถิ่นฐานั้น รวมถึง ผู้ที่กำเหนิดจากชาวต่างชาติ ที่จัดอยู่ในกลุ่ม ผู้ที่เปลี่ยนสัญชาติ และผู้ที่ย้ายถิ่นฐานเข้าประเทศ 


ในบรรดาประชากรที่ย้ายถิ่นฐาน คาดว่า วัยเรียนที่มีอายุ 6-21ปี ก็จะเพิ่มขึ้นตามธรรมชาติเช่นกัน ในบรรดาประชากรที่ย้ายถิ่นฐานที่อยู่ในวัยเรียน คาดว่า จะเพิ่มขึ้น 1.6 เท่า จาก 3 แสนคน ในปี 2020 เป็ร 4 แสน 7 หมื่นคน ในปี 2040 และคาดว่า ประชากรอายุ 0-14ปี จะเพิ่มขึ้น 1.3 เท่า จาก 3แสน2หมื่นคน เป็น 4แสน1หมื่นคน ในช่วงเวลาเดียวกัน


จำนวนชาวเกาหลีคาดว่าจะลดลงทุกๆปี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประชากรวัยทำงาน (ช่วงอายุ 15-64ปี) ซึ่งเป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจหลัก จะลดลงจาก 35.83 ล้านคน ในปี 2020 เป็น 26.76 ล้านคน ในปี 2040 สัดส่วนของประชากรวัยทำงานในประชากรทั้งหมดก็ลดลงจาก 71.5% เป็น 55.7% ด้วย ซึ่งหมายความว่า ประชากรที่ใช้งานทางเศรษฐกิจของประชากรทั้งหมดจะลดลงเหลือเพียงครึ่งเดียว 


OECDจัดให้เกาหลีเป็นประเทศหลากวัฒธรรม/หลายเชื้อชาติ หากสัดส่วนของชาวต่างชาติที่พำนักอยู่ในเกาหลีอยู่ที่ 5% หรือมากกว่า และบางคนเชื่อว่า เกาหลีได้ก้าวมาถึงระดับ ของประเทศหลากหลายวัฒธรรมแล้ว 

ในขณะเดียวกัน สถิติการคาดคะเนจำนวนประชากรชาวเกาหลีและชาวต่างชาติ เป็นผลมาที่อิงมาจากการคาดการณ์ จำนวนประชากรชาวเกาหลีและชาวต่างชาติในปี 2021 (ค่ามัธยฐาน)  และผลจากการคาดการณ์จำนวนประชากรชาวเกาหลีและชาวต่างชาติในปี 2040


สถิตินี้จัดทำขึ้นครั้งแรกในปี 2020 เพื่อให้ข้อมูลการคาดการณ์ประชากรตามเป้าหมายนโยบาย เช่น เงินบำนาญ สวัสดิการชาวต่างชาติ การศึกษาและครอบครัวหลากวัฒธรรม การเขียนครั้งนี้เป็นครั้งที่ 2 ที่มีการเตรียมการ  




(한국어 번역)

한국다문화뉴스=시리판 시민기자ㅣ지난 14일 통계청이 발표한 ‘2020~2040년 내외국인 인구전망’에 따르면 총인구는 2020년 5184만 명에서 2040년 5019만 명으로 감소할 것으로 전망된다. 내국인 인구는 올해 5003만 명에서 내년 4992만 명으로 줄어 내년에 5000만 명대가 처음 붕괴될 것으로 추정됐다. 

  

외국인은 2020년 170만명에서 2040년 216만명으로 총인구의 4.5%를 차지한다. 외국인은 2020~2022년 170만명, 162만명, 160만명으로 감소하다 2023년부터는 계속 증가한다.

  

2040년 한국 전체 인구 가운데‘다문화·다인종 인구’가 6%를 넘어설 것으로 예상된다. 내국인은 계속 줄어드는 반면 이주배경인구는 100만 명 넘게 늘 것으로 보인다.

  

반면 이주배경인구는 2020년 218만 명에서 2040년 323만 명으로 100만 명 이상 증가할 것으로 예상된다. 이주배경인구 비율은 2020년 4.2%에서 2040년 6.4%까지 늘어날 전망이다.

  

이주배경인구는 본인이나 부모 중 적어도 1명이 출생 시 또는 현재 외국 국적인 사람을 말한다. 이주배경인구에는 외국인을 비롯해 내국인으로 분류되는 귀화자와 이민자 2세도 포함된다.

  

이주배경인구 중 6~21세인 학령인구도 자연스럽게 증가할 것으로 추산된다. 이주배경인구 중 학령인구는 2020년 30만명에서 2040년 47만명으로 1.6배 증가할 전망이다. 0~14세인 유소년인구 역시 같은 기간 32만명에서 41만명으로 1.3배 늘어날 것으로 전망됐다.


내국인은 매년 감소할 것으로 보인다. 특히 경제활동 주체인 생산연령인구(15~64세)는 2020년 3583만명에서 2040년 2676만명으로 감소한다. 전체 인구 중 생산연령인구가 차지하는 비중도 71.5%에서 55.7%로 감소한다. 전체 인구 중 경제활동을 활발하게 하는 인구가 절반을 조금 넘는 수준으로 급감한다는 뜻이다.

 

 OECD에서는 거주 외국인의 비율이 5% 이상인 경우 다문화·다인종 국가로 분류하고 있어 한국은 이미 다문화 국가 수준까지 올라왔다고 보는 이들도 있다.

  

한편 내·외국인 인구전망 통계는 2021년 장래인구특별추계 결과(중위 추계)를 내국인과 외국인으로 분리해 2040년까지 내·외국인 인구를 전망한 결과다.

  

해당 통계는 연금·복지, 외국인, 다문화 교육·가족 등 정책 대상별 인구 전망 자료를 제공하기 위해 지난 2020년 처음 작성됐으며, 이번이 두 번째로 작성한 것이다.