2024.04.17 (수)

  • 흐림동두천 1.0℃
  • 흐림강릉 1.3℃
  • 서울 3.2℃
  • 대전 3.3℃
  • 대구 6.8℃
  • 울산 6.6℃
  • 광주 8.3℃
  • 부산 7.7℃
  • 흐림고창 6.7℃
  • 흐림제주 10.7℃
  • 흐림강화 2.2℃
  • 흐림보은 3.2℃
  • 흐림금산 4.4℃
  • 흐림강진군 8.7℃
  • 흐림경주시 6.7℃
  • 흐림거제 8.0℃
기상청 제공

태국어

ทำไมวันครูจึงต้องเป็นวันที่ 15 พฤษาภาคม?

스승의 날이 5월 15일인 이유

846905806.jpg

 

วันครูเป็นวันที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อขอบคุณ คุณครูที่ทำงานอย่างหนัก ซึ่งในปี ค.ศ.1994 องค์การยูเนสโกได้กำหนดให้ วันที่ 5 ตุลาคม เป็นวันครูโลก (World Teacher’ Day) ในหลายประเทศ 


อย่างไรก็ตามในเกาหลี วันที่ 15 พฤษภาคม (10 เมษายน 1397) คือวันคล้ายวันประสูติของกษัตริย์เซจงมหาราช ครูของชาติที่ได้ทิ้งความสำเร็จมากมายไว้ให้กับประชาชน ได้ถูกจัดตั้งขึ้นให้เป็นวันครู


วันครูครั้งแรกในเกาหลีได้เกิดขึ้นเมื่อปีค.ศ.1958 โดยนักเรียนมัธยมสภากาชาดเยาวชน (RCY) ของโรงเรียนมัธยมปลายคังคยอง เมืองนนซาน จังหวัดซุงซองนัมโด ได้เข้าเยี่ยมเหล่าคุณครูที่ป่วยอยู่ที่โรงพยาบาล

 

หลังจากนั้น ได้ไปเยี่ยมคุณครูที่ปลดเกษียณแล้ว โดยมอบกำลังใจและผ้าเช็ดหน้าให้ เป็นต้น


ด้วยเหตุนี้ จังหวัดซุงซองนัมโด จึงกำหนดให้วันที่ 21 กันยายน 1963 เป็น “วันครู” และในเดือนตุลาคมปีนั้น สภากาชาดเยาวชนกลาง ได้ขยายงานไปสู่ระดับประเทศ


ในการประชุมสภานักเรียนกลางครั้งที่ 13 เดือนพฤษภาคม ปี ค.ศ . 1964 ได้มีการเปลี่ยนจาก “은사의 날” เป็น “스승의 날” และเปลี่ยน วันที่ เป็น วันที่ 26 พฤษภาคม ด้วยเหตุนี้วันที่ 26 พฤษภาคม ปี ค.ศ. 1964 จึงถือได้ว่าเป็น วันครู (스승의 날) ครั้งที่ 1


และในเดือน เมษายน ปีค.ศ.1965 ทั่วประเทศได้กำหนดวันครูเป็นวันที่ 15 พฤษภาคม จนถึงปัจจุบัน 


ในปี ค.ศ.1965 ได้เปลี่ยนวันครูเป็น วันที่ 15 พฤษภาคม 


เนื่องจาก เป็นวันคล้ายวันประสูติของกษัตริย์เซจงมหาราช ซึ่งพระองค์เป็นครูที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของชาวเกาหลี  ผู้ซึ่งคิดค้นตัวอักษรฮัลกึน และดูแลประชาชน กล่าวได้ว่าจะให้ความเคารพคุณครูราวกับกษัตริย์เซจงมหาราช 


ในปี ค.ศ.1966 เพลงวันครู “스승의 날 노래” (เขียนโดย 윤석중 เรียบเรียงโดย김대현) ถูกเผยแพร่โดยสื่อและกระจายไปทั่วประเทศ อย่างไรก็ตาม ในเดือน มีนาคม ปี ค.ศ. 1973 งาน 교육관련기념행사가 국민교육헌장선포일 (วันที่ 5 เดือนธันวาคม) ได้ถูกรวมเข้าด้วยกันและถูกยกเลิกไป และนำกลับมาอีกครั้ง ในวันที่ 15 พฤษภาคม ปี ค.ศ.1982  และใช้เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน




(한국어 번역)

한국다문화뉴스=시리판 시민기자ㅣ스승의 날은 교사의 노고에 감사하는 취지로 만들어진 날로, 여러 나라에서 1994년 유네스코가 설립한 세계 스승의 날(10월 5일)을 세계 교사의 날(World Teachers' Day)로 기념하고 있다.


다만 한국에서는 백성을 위한 수많은 업적을 남긴 민족의 스승, 세종대왕  탄신일인 양력 5월 15일(음력 1397년 4월 10일)을 스승의 날로 제정해 기념하고 있다.


한국에서 처음 스승의날이라고 기념한 것은 1958년 충청남도 논산에 있는 강경고등학교의 청소년 적십자단(RCY) 학생들이 병석에 누워계시던 선생님들을 방문한 것이 시초가 되었다.  


그 뒤 퇴직한 선생님들을 찾아가 위문하고 손수건 등을 선물했다.


이를 계기로 충청남도에서는 1963년 9월 21일을 충남 도내 '은사의 날'로 정해 사은 행사로 했고, 그 해 10월 청소년 적십자중앙협의회에서 전국행사로 확대했다. 


1964년 5월 제 13차 중앙학생협의회에서 '은사의 날'을 '스승의 날'로 고쳐 불렀고 날짜도 5월 26일로 변경했는데 이것이 바로 제1회 '스승의 날'이라고 볼 수 있다.


그리고 전국적으로 여러 날에 실시되었던 스승의 날을 1965년 4월에 지금의 5월 15일을 스승의 날로 지정했다.


이후 1965년 세종대왕 탄신일인 5월 15일을 스승의날로 변경했다. 한글을 창제해 백성을 두루 살핀 우리민족의 가장 큰 스승이라 생각했기 때문이다. 스승이 세종대왕처럼 존경받는 시대가 됐으면 하는 바람을 담고 있다고 할 수 있다.

 

1966년 '스승의날 노래'(윤석중 작사, 김대현 작곡)가 보도매체에 의해 보급되고부터 이 행사는 전국으로 확산되었다. 그러나 1973년 3월 교육 관련 기념행사가 국민교육헌장선포일(12월 5일)로 통합되어 폐지됐다가 1982년 5월 15일 부활되어 현재에 이르고 있다.