ความหมายและความสำคัญของวันภาษาแห่งชาติ(วันฮันกึล)

  • 등록 2022.09.29 18:30:21
크게보기

한글날의 유래와 의미

 

วันฮันกึล หรือวันภาษาแห่งชาติคือ วันที่ระลึกถึงวันที่กษัตริย์เซจงมหาราชได้คิดค้นตัวอักษรภาษาเกาหลี ในปี 1926 วันฮันกึล ได้ถูกเรียกว่า “วันคาคยานัล” และได้เปลี่ยนชื่อเป็น “วันฮันกึลนัล”ในปี 1928 หลังจากได้รับเอกราช วันฮันกึลนัล ได้รับการยืนยันเป็นวันที่ 9 ตุลาคม และได้ถูกกำหนดให้เป็นวันหยุดประจำชาติ ในปี 2006

 

นอกจากนี้ ตัวอักษรฮันกึล จากกษัตริย์เซจง ยังได้ถูกกำหนดให้เป็นสมบัติแห่งชาติ ลำดับที่ 70 และได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น มรดกโลกโดยองค์การยูเนสโก ในเดือน ตุลาคม 1997

 

ก่อนมีการสร้างตัวอักษรฮันกึล ผู้คนจะต้องใช้ตัวอักษรจีน สำหรับคนทั่วไป การเรียนอักษรจีน และการใช้แทนเสียงในภาษาเกาหลีอย่างถูกต้องเป็นเรื่องยาก

 

กษัตริย์เซจงรู้สึกสงสารประชาชนที่ไม่สามารถเขียนตัวอักษรได้อย่างถูกต้อง จึงได้ร่วมกันกับนักวิชาการ เพื่อสร้างตัวอักษรฮันกึลขึ้นมา เพื่อให้ประชาชนเรียนรู้และใช้ได้ง่าย

 

ตัวอักษรฮันกึล เป็นตัวอักษรที่ใช้ได้จริง ซึ่งสามารถสร้างเสียงทั้งหมดได้โดยใช้ สระและพยัญชนะผสมเข้าด้วยกัน เนื่องจากเป็นการจำลองตามแบบช่องปาก ใครๆก็สามารถเรียนรู้และใช้งานได้อย่างง่ายดาย เพราะตัวอักษรฮันกึล ทำให้อัตราการไม่รู้หนังสือของคนเกาหลีต่ำกว่า 2% ซึ่งเป็นอัตราที่ต่ำที่สุดในโลก

 

ตัวอักษรฮันกึล เป็นตัวอักษรที่ใช้ได้จริง ซึ่งสามารถสร้างเสียงทั้งหมดได้โดยใช้ สระและพยัญชนะผสมเข้าด้วยกัน เนื่องจากเป็นการจำลองตามแบบช่องปาก ใครๆก็สามารถเรียนรู้และใช้งานได้อย่างง่ายดาย เพราะตัวอักษรฮันกึล ทำให้อัตราการไม่รู้หนังสือของคนเกาหลีต่ำกว่า 2% ซึ่งเป็นอัตราที่ต่ำที่สุดในโลก

 

อย่างไรก็ตาม ก็ใช้เวลานานกว่าที่คนทั่วไปจะใช้ฮันกึลหลังจากที่ประกาศใช้ เนื่องจากขุนนางชั้นสูงได้ซึมซับการใช้ตัวอักษรจีนมาเป็นเวลานาน แต่หลังจากมีการบังคับใช้ตัวอักษรฮันกึล การใช้ตัวอักษรจีนก็ลดลง

 

อย่างไรก็ตาม ก็ใช้เวลานานกว่าที่คนทั่วไปจะใช้ฮันกึลหลังจากที่ประกาศใช้ เนื่องจากขุนนางชั้นสูงได้ซึมซับการใช้ตัวอักษรจีนมาเป็นเวลานาน แต่หลังจากมีการบังคับใช้ตัวอักษรฮันกึล การใช้ตัวอักษรจีนก็ลดลง

 

ดังนั้นเราจึงมาร่วมรำลึกและรู้สึกขอบคุณ ต่อการประดิษฐ์ตัวอักษรอันยอดเยี่ยม ในวันหยุดทางกฎหมาย วันฮันกึลในปี 2022 กันเถอะ

 

 

(한국어 번역)

한국다문화뉴스 = 시리판 시민기자ㅣ한글날은 세종대왕이 훈민정음을 만드신 날을 기념하는 날이다. 한글날의 첫 이름은 1926년 ‘가갸날’이라고 시작되어 1928년 한글날이라는 이름으로 바꾸었다. 광복 후 양력 10월 9일로 확정되었고, 2006년에 국경일로 지정되었다.

 

또한 세종어제 서문과 한글의 제작 원리가 담긴 훈민정음은 국보 제70호로 지정되어 있으며, 이것은 1997년 10월 유네스코 세계기록유산으로 등록되었다.

 

훈민정음이 창제되기 전까지 백성들은 한자로 글을 적어야 했다. 일반 백성에게 중국 문자인 한자는 배우기 어렵고 우리말을 정확하게 옮기기도 어려운 문자였다.

 

글자가 없어 글을 제대로 쓰지 못한 백성을 불쌍히 여긴 세종대왕은 집현전 학자들과 함께 백성들이 쉽게 배우고 쓸 수 있는 훈민정음을 만들었다.

 

한글은 간단하게 자음과 모음의 결합으로 모든 소리를 만들어 낼 수 있는 아주 실용적인 문자다. 구강구조를 본떠서 만들었기 때문에 누구나 쉽게 배울 수 있고 쓸 수 있다. 한글 덕분에 우리나라 국민의 문맹률은 2%로 미만으로 전 세계에 가장 문맹률이 낮은 나라 중 하나다.

 

훈민정음은 세종대왕 25년 곧 서기 1443년에 완성하여 3년 동안의 시험 기간을 거쳐 세종 28년인 서기 1446년에 세상에 반포되었다.

 

하지만 한글이 반포된 후 일반 백성들이 사용하기까지 오랜 시간이 걸렸다고 한다. 조선의 사대부계층이 오랜 한자, 한문 생활에 젖어있었고, 연산군 때의 한글 탄압 이후로 한글은 아녀자들이 쓰는 글자로 전락했다.

 

그러나 개화기 이후 많은 국어학자의 노력으로 한글이 신문, 잡지 등에 널리 사용하게 되었고 일제 강점기 말기에 우리말 말살 정책으로 큰 위기를 맞이했지만, 광복과 더불어 우리말과 한글을 마음 놓고 가르치고 배우게 되어 오늘날에 이르렀다고 한다.

 

한글을 기념하는 '2022년 한글날 법정 공휴일'에 한글 창제와 그 우수성을 기리며, 한글의 고마움을 다시 한번 느껴보면 어떨까.

시리판 시민기자 rayzaki555@naver.com
Copyrightⓒ2021 한국다문화뉴스. all right reserved.

경기도 수원시 장안구 송원로39 월드타워 304호 | 대표전화 : 031-406-1170 | 발행법인 : 주식회사 몽드 | 발행인 대표이사 : 강성혁  등록일 : 2013년 5월 13일 | 정기간행물번호 : 경기 다50353 | 인터넷신문 : 경기 아 51486 「열린보도원칙」 당 매체는 독자와 취재원 등 뉴스이용자의 권리 보장을 위해 반론이나 정정보도, 추후보도를 요청할 수 있는 창구를 열어두고 있음을 알려드립니다. 고충처리인 : 정영한 / TEL : 031-352-1175 / sdjebo2@naver.com 한국다문화뉴스의 모든 콘텐츠는 한국다문화뉴스 또는 제공처에 있으며 저작권법의 보호를 받습니다. 이를 무단 이용하는 경우 저작권 법 등에 따라 법적책임을 질 수 있습니다. Copyrightⓒ2021 한국다문화뉴스. all right reserved.  | sdjebo@naver.com