พระจันทร์เต็มดวงแรกของปีใหม่เป็นหนึ่งในวันหยุดตามประเพณีของเกาหลี ซึ่งตรงกับวันที่ 15 มกราคมตามปฏิทินจันทรคติ และเป็นวันที่พระจันทร์เต็มดวงที่สว่างที่สุดของปี มีความหมายว่า ต้อนรับปีใหม่ ใต้แสงพระจันทร์เต็มดวง และขอพรในสิ่งที่ปรารถนา
พระจันทร์เต็มดวงแรกของเดือนจันทรคติแรกนั้นขึ้นอยู่กับความรู้ทางดาราศาสตร์และวัฒนธรรมการเกษตรของสังคมโบราณต้นกำเนิดของวันพระจันทร์เต็มดวงปีใหม่มีจุดประสงค์เพื่อประกาศการสิ้นสุดฤดูหนาวและการเริ่มต้นปีใหม่ ขอให้มีสุขภาพที่ดี การเก็บเกี่ยวที่ดี และขับไล่พลังงานที่ไม่ดีออกไป
นอกจากนี้ยัง ยังมีการรวมของเครือญาติ ถามการเป็นอยู่ รับประทานอาหารร่วมกันอาหาร และขอพรให้โชคดีในปีหน้า และยังมีการละเล่นพื้นบ้าน เช่น ชักกะเย่อ เล่นรอบกองไฟ เล่นว่าว เล่นไฟ หุงข้าว ธัญญาพืชรวม 5 ขนิด และทำถุงนำโชค
ชักกะเย่อเป็นหนึ่งในการละเล่นพื้นบ้านที่เล่นกันมากที่สุดเป็นการละเล่นที่ให้คุณยืดเชือกยาวที่ทำจากฟางแล้วแบ่งออกเป็นสองส่วนแล้วดึงเข้าหาตัวเองเพื่อชัยชนะ เป็นประเพณีที่อธิษฐานขอให้โชคดีและอุดมสมบูรณ์ในหมู่บ้าน
การเล่นรอบกองไฟเป็นประเพณีการรวบรวมสิ่งของมาเผา เช่น กิ่งสนสด แล้วเผาจนพระจันทร์ขึ้น เมื่อดอกไม้บาน พวกเขาก็สนุกสนานและเล่นสนุกไปรอบๆ เนื่องจากพระจันทร์เต็มดวงเป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์ และไฟเป็นสัญลักษณ์ของความบริสุทธิ์ อีกทั้งยังเป็นการแสดงออกถึงการต้อนรับปีใหม่ที่เจริญรุ่งเรือง ปราศจากโรคภัย ไข้เจ็บ
การเล่นว่าวเป็นการละเล่นที่ปล่อยว่าวขึ้นไปบนท้องฟ้าและส่วนใหญ่จะเล่นบนเนินเขาสูงและเนินเขา โดยปกติแล้วการเล่นว่าวจะได้รับความนิยมไม่กี่วันก่อนพระจันทร์เต็มดวงครั้งแรก การสลักคำว่า 'โชคดี' บนว่าว มีความหมายว่า 'ทำให้โชคร้ายลอยล่อง' และยังหมายถึงการปล่อยความโชคร้ายของปีขึ้นสู่ท้องฟ้าด้วย
การทำตุ๊กตารูปหนูแล้วนำมาเผาไฟเป็นการละเล่นที่คนโบราณเชื่อว่าหนูทำร้ายพืชผล
จึงได้ประดิษฐ์ตุ๊กตาฟางเป็นรูปหนู แล้วเผาเพื่อป้องกันหนูจากพืชผล
อาหารที่กินในวันพระจันทร์เต็มดวงแรก เพื่ออธิษฐานขอให้มีความอุดมสมบูรณ์และสุขภาพที่ดีตลอดทั้งปี ข้าวธัญญาพืชรวม 5 ชนิด ได้แก่ ข้าว ข้าวบาร์เลย์ ข้าวฟ่าง ถั่ว และลูกเดือย หมายถึง รับพรจากธัญพืชทั้ง 5 ชนิด และขอให้เป็นปีแห่งความเจริญรุ่งเรืองและสุขภาพแข็งแรง
(한국어 번역)
한국다문화뉴스 = 시리판 시민기자ㅣ정월대보름은 한국의 전통 명절 중 하나로 음력 1월 15일에 해당하며, 이날은 한 해 중 가장 밝은 보름달이 뜨는 날이다. 보름달의 빛을 받으며 새해를 맞이하고, 원하는 것들을 소망하는 의미가 담겨 있다.
정월대보름은 고대 사회의 천문학적 지식과 농업 문화에 근간을 두고 있다. 겨울철을 지나 새해 시작을 알리고 건강과 풍년을 기원하며 나쁜 기운을 쫓아내려는 취지에서 정월대보름의 유래를 찾을 수 있다.
사람들이 모여 서로의 안부를 묻고, 음식을 나눠 먹으며 한 해의 복을 기원하는 소통의 장으로도 기능했다. 또 줄다리기, 달집태우기, 연날리기, 쥐불놀이, 오곡밥먹기, 복주머니 만들기 등 다양한 민속놀이와 음식 문화와 함께했다.
줄다리기는 가장 흔하게 하는 전통놀이 중의 하나이다. 짚으로 만든 동아줄을 길게 늘어뜨려 두 편으로 나누어 자기 쪽으로 끌어당기면 이기는 놀이로 마을의 행운과 풍요를 기원하는 풍습이 담겨있다.
달집태우기는 달이 떠오를 때까지 생솔가지 등 불로 태울 것을 모아 불을 태우며 노는 풍속이다. 꽃이 피어오르면 신나게 놀면서 주위를 돌고 놀기도 했다. 보름달은 풍요의 상징이고 불은 정화의 상징이기 때문에 풍요롭고 질병과 근심이 없는 새해를 맞이한다는 것을 표현한 것이기도 하다.
연날리기는 연을 하늘로 띄워 노는 놀이로 주로 높은 언덕과 동산에서 많이 날린다. 보통 연날리기는 정월대보름 며칠 전 성황을 이룬다. 연에 '액'을 새겨서 '액연을 띄운다'라고 표현하며, 한 해의 모든 액을 하늘로 날려버리는 의미를 갖기도 한다.
쥐불놀이는 쥐가 농작물의 해를 끼친다고 여겼던 옛날 사람들이 쥐의 형상을 한 짚 인형을 만들어 태우는 놀이로, 쥐를 물리치고 농작물을 보호하기 위한 의미가 있다.
정월대보름에 먹는 음식은 한 해의 풍요와 건강을 기원하는 의미로 먹는 음식이다. 오곡밥은 쌀, 보리, 조, 콩, 기장 등 5가지 곡식으로 지은 밥으로, 다섯 가지의 곡식의 덕을 받아 한 해가 풍요롭고 건강하길 기원하는 의미가 있다.